ที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 11 - 12 กันยายน 2557 ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว ได้ให้การรับรองประเด็นสำคัญด้านการศึกษาของอาเซียนเพื่อเป็น แนวทางการดำเนินความร่วมมือด้านการศึกษาในยุคหลังปี 2559 ประกอบด้วยประเด็นดังนี้
1. ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน ผ่านการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และความรู้พื้นเมือง
2. ยกระดับคุณภาพและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษา ขั้นพื้นฐานสำหรับทุกคนโดยไม่ละเลยผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มชายขอบต่าง ๆ
3. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาและฝึกอบรมด้านเทคนิค และอาชีวศึกษา ตลอดจนการเรียนรู้ตลอดชีวิตในภูมิภาค
5. ส่งเสริมการดำเนินงานของทุกภาคส่วนในการ พัฒนาคนให้สอดคล้องตามความต้องการของตลาดแรงงาน เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน
6. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการอุดมศึกษาด้วยการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
7. ส่งเสริมบทบาทของการอุดมศึกษาให้เข้มแข็งด้วยการ สร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการกับมหาวิทยาลัย
8. ดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา
|
The ASEAN Minister’s Meeting on Education has adopted the key elements on Education at the 8th ASEAN Ministers Meeting on Education ASED held during 11-12 September 2015 in Lao PDR as the elements for education cooperation in the Post-2015.
1. Promote ASEAN awareness through strengthening of Southeast Asian history and indigenous knowledge;
2. Enhance the quality and access to basic education for all, including the disabled, less-advantageous and other marginalized groups;
3. Strengthen the use of Information and Communication Technology: ICT;
4. Support the development of the Technical and Vocational Education and Training (TVET) sector as well as lifelong learning in the region;
5. Complement the efforts of other sectors in meeting the objectives of Education for Sustainable Development;
6. Strengthen the higher education sector through the implementation of robust quality assurance mechanisms;
7. Foster the role of higher education in the area of socio-economic development through University-Industry Partnership; and
8. Provide capacity-building programs for teachers, academics and other key stakeholders in the education community.
|
ความเป็นมา แผนงานการศึกษาของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 จัดทำขึ้นเป็นแผนฉบับที่ 2 สืบเนื่องจาก แผน 5 ปีด้านการศึกษา ของอาเซียน พ.ศ. 2555 – 2558 ที่ประเทศสมาชิกได้ดำเนินการ เสร็จสิ้นแล้ว โดยแผนฉบับใหม่นี้จัดทำขึ้นเพื่อให้สอดคล้อง ตามวิสัยทัศน์ของประชาคมอาเซียนที่ผู้นำประเทศสมาชิก ให้การรับรอง โดยมุ่งเน้นการให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง เป็นประชาคมอาเซียนที่เคารพในกฎกติกามีความเป็นปึกแผ่น ทางการเมือง มีการบูรณาการด้านเศรษฐกิจ ตลอดจนเป็นสังคม ที่มีความรับผิดชอบ
นอกจากนี้ ในเอกสารฉบับนี้ ยังได้นำวิสัยทัศน์ด้านการศึกษา ภายหลังปี 2558 ที่ได้รับการรับรองจากที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2557 ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว ที่จะ “ใช้การศึกษาในการเสริมสร้างประชาคมอาเซียน อย่างต่อเนื่อง โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ปลูกฝังความตระหนักรู้ ในความเป็นพลเมืองอาเซียนให้ความสำคัญกับการพัฒนาภูมิภาค อย่างยั่งยืน โดยเน้นการเข้าถึงการศึกษาแบบเรียนรวมที่มีคุณภาพ การพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านโครงการสร้างเสริมขีดความสามารถ พร้อมจัดวางแนวทางด้านโครงสร้างสำหรับการจัดการศึกษา” รวมถึง 8 ประเด็นสำคัญด้านการศึกษาของอาเซียน ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของประเทศสมาชิกอาเซียน ยึดถือเป็นแนวทางการดำเนินความร่วมมือด้านการศึกษาและ ได้นำมากำหนดเป็นเป้าหมายของการดำเนินงานตามแผนงาน ฯ ฉบับนี้ เพื่อให้การดำเนินความร่วมมือด้านการศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2025 ที่ให้ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนเป็นประชาคมที่มีปฏิสัมพันธ์ เป็นประโยชน์ต่อประชาชนครอบคลุม ยั่งยืน มีภูมิคุ้มกัน และมีพลวัต
|
ทั้งนี้ แผนงานการศึกษาของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 ฉบับนี้ มีระยะเวลาการดำเนินงาน 5 ปี ซึ่งมีวัตถุประสงค์การจัดทำ 3 ประการ ได้แก่
• ส่งเสริมและปฏิบัติการตามวิสัยทัศน์ด้านการศึกษา ของอาเซียนภายหลังปี 2558
• เป็นรากฐานในการเสริมสร้าง ขยายขอบเขต รวมทั้ง บ่มเพาะความร่วมมือด้านการศึกษากับพันธมิตรให้กว้างไกล และแข็งแกร่งยิ่งขึ้น
• ขยายความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาให้สมาชิก อาเซียนมีความร่วมมือร่วมใจแน่นแฟ้นและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มากขึ้น จนส่งผลให้อาเซียนเข้าไปมีบทบาทในประเด็นการศึกษา ของโลกได้
แผนงานการศึกษาของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 เป็นกลไกการดำเนินความร่วมมือด้านการศึกษาที่สอดคล้อง ตามแนวทางที่ผู้นำได้เห็นชอบในวิสัยทัศน์อาเซียน 2025 โดยการรับรองเอกสารฉบับนี้จะส่งผลให้การดำเนินความร่วมมือ ด้านการศึกษาของภูมิภาคสามารถพัฒนาไปยังเป้าหมายสูงสุด ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้สามารถดำรงตน อยู่ในประชาคมที่มีเอกภาพทางการเมือง (Political Cohesive) มีการรวมตัวทางเศรษฐกิจ (Economically Integrated) มีความรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible) ทำเพื่อ ประชาชนและมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และยึดมั่นในกฎกติกา อย่างแท้จริง (and a truly rules-based, people-oriented, people-centred ASEAN) ผ่านการขับเคลื่อนของเจ้าหน้าที่อาวุโส อาเซียนด้านการศึกษาและการกำกับดูแลโดยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการของประเทศสมาชิกอาเซียน
|
ที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่จัดขึ้น เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ได้ให้การรับรองแผนงานการศึกษา ของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 และประเทศสมาชิกอยู่ระหว่าง การดำเนินการตามแผนฯ ทั้งนี้สำนักเลขาธกิารอาเซียนร่วมกับประเทศ สมาชิกจะได้มีการกำกับติดตามการดำเนินงานเป็นระยะต่อไป
พัฒนาการการจัดทำแผนงานการศึกษาของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563
ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษาของอาเซียน ได้เห็นชอบให้มีการจัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อจัดทำแผนงาน การศึกษาของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 และสำนักเลขาธิการ อาเซียนได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนงานการศึกษา ของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 ร่วมกับองค์การระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องอาทิ SEAMEO, UNICEF, UNESCO, RECOTVET EU SHARE เป็นต้น โดยการประชุมดังกล่าวจัดขึ้นจำนวน 3 ครั้ง ได้แก่
การประชุมครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 23 – 24 เมษายน 2558 ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
การประชุมครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 30 – 31 กรกฎาคม 2558 ณ เมืองปุตราจายา มาเลเซีย
การประชุมครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 25 – 26 เมษายน 2559 ณ กรุงจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
|
ที่ประชุมดังกล่าวได้ทบทวนการดำเนินความร่วมมือ ด้านการศึกษาของอาเซียนภายใต้แผน 5 ปี ด้านการศึกษา ของอาเซียน พ.ศ. 2555 – 2558 และร่วมกันพิจารณา เป้าหมายสำคัญในการดำเนินความร่วมมือด้านการศึกษา ในบริบทอาเซียนหลังปี 2559 วางกรอบการจัดทำแผน 5 ปี ด้านการศึกษาของอาเซียนฉบับใหม่และร่วมกันกำหนด Priority Areas, Indicative programmes และ Activities ทั้งนี้ภายหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ของคณะทำงานนั้น สำนักเลขาธิการอาเซียนได้นำเสนอ (ร่าง) แผนดังกล่าวเพื่อที่ประชุม เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษาของอาเซียนให้ความเห็นชอบ ให้เสนอต่อที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ครั้งที่ 9 ให้การรับรอง และประกาศใช้อย่างเป็นทางการเพื่อเป็นแนวทางการดำเนิน ความร่วมมือด้านการศึกษาภายใต้กรอบอาเซียนในอีก 5 ปีข้างหน้า ซึ่งแผนงานฉบับนี้ นอกจากจะเป็นแนวทางการดำเนินความร่วมมือ ระหว่างกันแล้ว ยังเป็นการบูรณาการความร่วมมือด้านการศึกษา ร่วมกับประเทศคู่เจรจา และองค์การระหว่างประเทศ เพื่อให้ การดำเนินความร่วมมือด้านการศึกษาของอาเซียนขับเคลื่อนไป อย่างบูรณาการเพื่อประโยชน์ร่วมกันอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
|
แผนงานการศึกษาของอาเซียน พ.ศ. 2559 – 2563 ประกอบด้วย เป้าหมายย่อยตามประเด็นสำคัญด้านการศึกษา 8 ประการ แนวทางการดำเนินงานจำนวน 19 ข้อ และโครงการต่าง ๆ โดยประเทศไทยได้รับเป็นเจ้าภาพดำเนินโครงการจำนวน 8 โครงการ ภายใต้แผนดังกล่าว ดังนี้
1) จัดทำแนวทางการดำเนินงานของศูนย์อาเซียนศึกษา ซึ่งรวมถึงการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ โครงการ/กิจกรรม และ ผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมภายใต้ศูนย์อาเซียนศึกษา ในภูมิภาค
2) จัดทำแนวทางการจัดโครงการ/กิจกรรม ซึ่งรวมถึง การกำหนดคำจำกัดความ โครงสร้างกิจกรรม และผลลัพธ์ ที่คาดหวังภายใต้ศูนย์อาเซียนศึกษา
3) จัดทำปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งด้านการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนที่ตกหล่น (ASEAN Declaration on Strengthen Education for Out-of- School Children and Youth: OOSCY)
|
4) พัฒนา/ยกระดับโครงการฝึกงานข้ามพรมแดนในระดับอาชีวศึกษา
5) พัฒนา/ดำเนินโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการระดับอาชีวศึกษา
6) ศึกษาวิจัยในลักษณะสหสาขาด้านสังคมศาสตร์กับ ความยั่งยืนเพื่อสร้างความเข้าใจในประเด็นเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจกับผลกระทบจากการบูรณาการอาเซียน รวมทั้งการวิเคราะห์นัยของนโยบายสำคัญ ๆ ของรัฐบาล ของประเทศสมาชิก
7) ดำเนินการในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับภูมิภาค รวมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน
8) เสริมสร้างความแข็งแกร่งของการประกันคุณภาพ การอุดมศึกษาของอาเซียนที่มีอยู่ในปัจจุบัน (ระดับปริญญา) สำหรับนักศึกษาและนักวิชาการ
|
BACKGROUND
The 23rd ASEAN Summit in Brunei Darussalam issued the Bandar Seri Begawan Declaration on the ASEAN Community’s Post-2015 Vision (BSB Declaration), with the vision of a politically cohesive, economically integrated, socially responsible, and a truly peopleoriented, people-centred and rules-based ASEAN as central elements of a Post-2015 Vision of the ASEAN Community.
This direction by the ASEAN Leaders was subsequently followed up through by the ASEAN Senior Officials Meeting in Education (SOM-ED) with the formulation of the Education Post-2015 Vision which was adopted at the 8th ASED, held on 11 September 2014 in Vientiane, Lao PDR. The vision statement reads as follows: “The ASEAN education sector will continue to promote a Community that puts people at its centre as well as one with an enhanced awareness of ASEAN. It remains steadfast in its focus on sustainable development in the region, with emphasis on access to quality inclusive education and development of lifelong learning through robust capacity building programmes and provision of structural guidelines.”
The Eight Key Elements of education sector, also adopted during the 8th ASED, have been translated into the Sub-Goals in the ASEAN Work Plan on Education 2016-2020. Guided by the overarching ASEAN Post-2015 Vision and the recently launched ASCC Blueprint 2025, the ASEAN SOM-ED has worked towards finalising the second five-year work plan on education within one year of intensive deliberations which was from April 2015 to April 2016.
Two workshops were conducted in 2015. The first workshop was held on 23-24 April 2015 in Ha Noi, Viet Nam, and the second one was held on 30-31 July 2015 in Putrajaya, Malaysia. The Work Plan exercises in 2015 also included consultations with other relevant ASEAN sectoral bodies across the three ASEAN Community pillars to accommodate the cross-cutting nature of education sector. Primarily, the key elements of the Work Plan were formulated during these two workshops including the priority areas and indicative programmes and activities.
In December 2015, the progress of the development of the ASEAN Work Plan on Education was reported to the 10th SOM-ED held on 1 December 2015 in Bangkok, Thailand, which subsequently resulted to a mandate to convene a third and final workshop to conclude the development of the ASEAN Work Plan on Education prior the Ninth ASEAN Ministers Meeting (9th ASED) in May 2016.
The final workshop on the ASEAN Work Plan on Education 2016-2020 took place at the ASEAN Secretariat in Jakarta, Indonesia from 25-26 April 2016, with the attendance of representatives of all ASEAN Member States and 8 partner organisations. The third and last Workshop provided opportunity to build consensus among ASEAN Member States and discuss strategies to further develop the Education Sector in ASEAN through the finalisation of the ASEAN Work Plan on Education 2016-2020.
(3) Confirmation of Work Plan elements The Workshop confirmed the elements in the Draft ASEAN Work Plan on Education including programmes/ activities, performance indicators, expected outputs, roles of lead countries and partners, and indicative timeline. The participants also discussed the monitoring and evaluation mechanism for the Work Plan; and agreed on cross-cutting themes and cross-sectoral/pillar
|
The ASEAN Work Plan on Education 2016-2020 is the second five-year Work Plan on Education and serves three purposes: (a) support and implementation of the ASEAN Post-2015 Vision on Education, (b) serve as basis in strengthening, deepening and widening educational cooperation with partners, and (c) expand the scope of education cooperation towards development of a more coordinated, cohesive and coherent ASEAN position and its contribution to global education issues.
DEVELOPMENT OF THE WORK PLAN (1) Creation of a task force In order to conceptualise the Work Plan, a proposal to form a Task Force with the aim to develop a comprehensive ASEAN 5-Year Work Plan on Education (2016-2020) was approved by the 9th SOM-ED held on 9 September 2014 in Vientiane, Lao PDR. The Terms of Reference (TOR) regarding the establishment of the Task Force was subsequently agreed to by the SOM-ED on 19 December 2014 on ad referendum basis. Task Force members consisted of SOM-ED and/or their nominated representatives.
(2) Conduct of workshops and consultations The development of the ASEAN Education Work Plan 2016-2020 consisted of the conduct of three workshops, consultations and several e-mail correspondences involving the Task Force Members, the SOM-ED Focal Points in the AMS, relevant ASEAN-affiliated institutions, SEAMEO, development partners and organisations including UNESCO and UNICEF, relevant ASEAN sectors, and the ASEAN Secretariat. The process was led by Lao PDR as the SOM-ED Chair.
opportunities in the Education Work Plan that may require collaboration and coordination with other ASEAN sectoral bodies.
LESSONS LEARNED / INSIGHTS / AGREEMENTS AND RECOMMENDATIONS During the one year-long intensive workshops, consultations and discussions, there are several issues that surfaced frequently in the Meetings, such as overlaps with other organisations’ work plans such as SEAMEO, alignment of the ASEAN Education Work Plan priorities with other regional and international commitments such as the SDGs and Education 2030, and others. Having discussed and reflected on various discussion topics raised during the development of the ASEAN Work Plan on Education 2016-2020, there are several insights and recommendations as SOMED is getting ready to fully put the Work Plan into action starting in June 2016 and onto the next five years as follows;
• Greater collaboration with other ASEAN sectors, regional bodies and international organisations. During workshop discussions, it was shared that both the AMS and agencies have been continuously reaching out to different groups of stakeholders as a way of strengthening education programmes as well as to exchange knowledge among different institutions and agencies in ASEAN. While the listed partners in the ASEAN Work Plan 2016-2020 is not comprehensive, the ASEAN Secretariat with the guidance of SOM-ED and the SOM-ED Chair may engage new and additional partners to maximise resources and leverage expertise.
• Cross-cutting and cross-sector approach and alignment of relevant activities of relevant ASEAN sectors in the Education Work Plan. This fact should be seen as an opportunity to expand and to strengthen educational
|
initiatives that could support further integrated achievements of Education Sector in ASEAN towards the ASEAN Community Vision 2025. In making this a reality in the ASEAN Work Plan on Education 2016-2020, education-related priorities of various ASEAN sectors and ASEAN Secretariat divisions have been incorporated in the Work Plan as follows: ASEAN Connectivity Division, ASEAN Initiative for ASEAN Integration (IAI) and Narrowing the Development Gap (NDG), ASEAN Services and Investment Division (SID) and ASEAN Political Security Community (APSC)
• Key recommendations and commitments of Malaysia on higher education and TVET in support of the Kuala Lumpur Declaration on Higher education In support
|
of the Kuala Lumpur Declaration on Higher Education that was spearheaded by Malaysia and adopted by the ASEAN Member States in November 2015, Malaysia hosted the Workshop on the Development of Framework and Action Plan to support the Declaration. The workshop was held on 27-28 April 2016 in Kuala Lumpur, Malaysia with participation of higher education and technical and vocational education and training (TVET) experts from the ASEAN Member States.
Key recommendations and commitments of Malaysia (throughout Malaysia’s chairmanship) that have been incorporated in the Work Plan as follows: Higher education and student and staff mobility TVET
|
• Harmonising priorities and strengthening coordination between ASEAN and SEAMEO on Education. The process of developing the ASEAN Work Plan on Education 2016-2020 had also tackled issues regarding the programmes implemented under the auspices of ASEAN SOM-ED and SEAMEO. Strategies to avoid duplications and overlaps of programmes between ASEAN and SEAMEO were discussed. One possible strategy is to ensure that lead countries for common initiatives of both organisations should be consistent. Secondly, in order to keep respective institutions updated and coordinated regarding various education agendas in the region, the secretariats of ASEAN and SEAMEO may need to strengthen existing annual coordination meetings through proactive sharing of information on respective education programmes. Another possible mechanism to consider is including a regular agenda item in both respective regular meetings of the two organisations such as in ASEAN SOM-ED and SEAMEO’s High Officials Meeting.
• Monitoring and evaluation, performance indicators, and alignment of the ASEAN Education Work
|
Plan priorities with other regional and international commitments. Monitoring and evaluation mechanisms for the Work Plan had been aligned with the ASCC Blueprint, Education 2030, and the SDGs. With regards to performance indicators, higher-level indicators were identified in addition to the project/activity based ones to anticipate the potential complexity and to provide reasonable scope of programme reporting during mid-term or final year of the Work Plan. The role of lead country in the respective project/activity is also important to carefully anticipate any potential overlapping among stakeholders involved. Thus, continuous coordination led by the lead or coordinating country is important to avoid such coincidence as well as to ensure added values are created from the collaborations incorporated in the ASEAN Education Work Plan 2016-2020.
The ASEAN Work Plan on Education 2016-2020 was submitted by the 11th SOM-ED for elevation to the 9th ASED to be formally adopted by the Ministers and was included as the outcome document of the 9th ASED.
|